ชื่อโครงการ โครงการสัมมนา เรื่อง “รู้ให้เท่า ก้าวให้ทัน เทคโนโลยีการสื่อสาร”
Media & Communication Technology Literacy
1.หลักการและเหตุผล
ในสังคมที่อินเทอร์เน็ตเริ่มมีบทบาทในชีวิตประจำวัน เนื้อหาความรู้สาธารณะ (open content) เปิดช่องทางให้ผู้เรียนรู้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้อย่างไม่มีข้อจำกัด และผู้ให้ความรู้ เช่นโรงเรียน มหาวิทยาลัย หน่วยงานภาคประชาชน หรือแม้แต่ครอบครัว ก็สามารถสรรหาข้อมูลและความรู้ให้ผู้เรียนได้โดยง่าย ยกตัวอย่างเช่น เดิมพ่อแม่จะซื้อหนังสือให้ลูกอ่าน แต่ปัจจุบันสามารถใช้ความรู้ฟรีอินเทอร์เน็ตมาแทนได้ หรือโรงเรียนที่แทนที่จะต้องใช้งบประมาณจำนวนมากซื้อหนังสือเข้าห้องสมุดก็เปลี่ยนเป็นการซื้อคอมพิวเตอร์และระบบอินเทอร์เน็ตและให้คำแนะนำและสนับสนุนให้เด็กใช้งานเพื่อหาข้อมูลอย่างถูกวิธีและได้ผล ตัวอย่างของเนื้อหาความรู้สาธารณะ (open content) ได้แก่ Wikipedia (สารานุกรมสาธารณะบนระบบอินเทอร์เน็ต) ซึ่งมีองค์ความรู้ภาษาไทยอยู่กว่าหนึ่งหมื่นเรื่อง ระบบฐานข้อมูลกลาง เช่นข้อมูลบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ข้อมูลและสถิติทางเศรษฐกิจของหน่วยงานรัฐ ที่เปิดให้ใครก็ได้เข้าถึงและนำไปใช้อย่างเสรี การส่งเสริม Open Content มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้คนไทยรู้จัก Open Content และเข้าไปใช้งานแล้วยังต้องการสนับสนุนให้แหล่งข้อมูลและผู้มีความรู้สร้าง เผยแพร่ และพัฒนาเนื้อหา Open Content โดยการนำ Content มาพัฒนาการเรียนรู้มากกว่าการนำมาใช้งานในลักษณะการประกอบอาชีพ เช่น การที่เด็กและเยาวชนสามารถใช้อินเทอร์เน็ตเข้าถึงสารานุกรมเพื่อสร้างองค์ความรู้ให้แก่ตนเองและสังคมอย่างต่อเนื่อง
เหตุผลสำคัญอีกด้านหนึ่งเทคโนโลยีการสื่อสารได้มีการพัฒนาแบบก้าวกระโดด โดยเฉพาะเทคโนโลยีการสื่อสารแบบไร้พรมแดน ซึ่งจะเห็นได้จาก ระบบอินเทอร์เน็ตปัจจุบันเปลี่ยนเป็นยุคของ Web 2.0 แล้ว ไม่ว่าจะเป็น Blog, Hi5, Facebook, twitter และยังมีอีกหลายอย่างใน Web 2.0 ที่เราในฐานะผู้ใช้งานเทคโนโลยีการสื่อสารจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องทำการศึกษาเรียนรู้สิ่งเหล่านี้ เพื่อที่จะได้รู้เท่าทันเทคโนโลยีการสื่อสาร Communication Technology Literacy และพร้อมที่จะอยู่ในสังคมยุคโลกาภิวัฒน์ อย่างรู้เท่าทัน
2.วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจการรู้เท่าทันเทคโนโลยีการสื่อทางอินเทอร์เน็ตในปัจจุบัน
2. เพื่อส่งเสริมและกระตุ้นให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีการสื่อสารนำความรู้ด้านการรู้เท่าทันเทคโนโลยีการสื่อสารไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันและมีความรับผิดชอบต่อสังคม
3. เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมสัมมนา ได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ด้านการรู้เท่าทันเทคโนโลยีการสื่อสาร
3.ขั้นตอนดำเนินการ
1. กำหนดกิจกรรมและงบประมาณ
2. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติจากประธานสาขาวิชาเทคโนโลยีการสื่อสาร
3. จัดกิจกรรมตามแผนงานที่กำหนด
4. ประเมินและสรุปผลการดำเนินงาน
4.ระยะเวลาดำเนินการ
วันที่ 5 กันยายน 2552 เวลา 9.00 – 12.00 น.
5.กิจกรรม
รับฟังการบรรยาย เรื่อง “รู้ให้เท่า ก้าวให้ทัน เทคโนโลยีการสื่อสาร” วิทยากรโดย
คุณสุนทร พรหมวงศา และ เรื่อง “เกมส์คอมพิวเตอร์ออนไลน์ ภัยแฝงสังคมไทย” วิทยากรโดย คุณจิตติพล ศุภเจียรพันธ์ บัณฑิตศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีการสื่อสาร มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
5.สถานที่ดำเนินการ
ห้อง 1601 อาคารเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
6.งบประมาณ
จากเงินงบประมาณส่วนตัว ดังนี้
1. ค่าตอบแทน
-ค่าตอบแทนวิทยากร 2 ท่าน = 1,000 บาท
2. ค่าวัสดุและค่าใช้สอย
-ค่าอาหาร น้ำชา กาแฟ เครื่องดื่ม = 300 บาท
-อื่นๆ = 200 บาท
รวมเงินทั้งสิ้น 1,500 บาท (หนึ่งพันห้าร้อยบาทถ้วน)
ใช้งบส่วนตัว
7.ประเมินผลโครงการ
1. นักศึกษาและผู้สนใจทั่วไปทุกคนมีความสนใจและความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมรับฟังสัมมนา
2. แบบสอบถามจากผู้เข้าฟังการสัมมนา
8.ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. นักศึกษาและผู้เข้าร่วมสัมมนาทุกคนมีความรู้เท่าทันเทคโนโลยีการสื่อสารแล้ว
สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างดี
2. นักศึกษาและผู้เข้าร่วมสัมมนาได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีการสื่อสารและมีความรู้เท่าทันเทคโนโลยีการสื่อสาร
9.ผู้รับผิดชอบโครงการ
นายสุนทร พรหมวงศา และนายจิตติพล ศุภเจียรพันธ์ บัณฑิตศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีการสื่อสาร ปี 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
10.ผู้เสนอโครงการ
(นายสุนทร พรหมวงศา)
บัณฑิตศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีการสื่อสาร ปี 2
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
11.ผู้อนุมัติโครงการ
(ผศ.ดร.เสกสรร สายสีสด)
ประธานสาขาวิชาเทคโนโลยีการสื่อสาร
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
กำหนดการสัมมนา
เรื่อง “รู้ให้เท่า ก้าวให้ทัน เทคโนโลยีการสื่อสาร”
Media & Communication Technology Literacy
วันที่ 5 กันยายน 2552
ณ ห้อง 1601 อาคารเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
เวลา กิจกรรม
09.00-09.15 น. ลงทะเบียน
09.15-09.30 น. พิธีเปิดการสัมมนา
โดย ผศ.ดร.เสกสรร สายสีสด
ประธานสาขาวิชาเทคโนโลยีการสื่อสาร
ม.รภ.อุดรธานี
9.30-10.30 น. บรรยายเรื่อง “รู้ให้เท่า ก้าวให้ทัน เทคโนโลยีการสื่อสาร”
Media & Communication Technology Literacy
1.หลักการและเหตุผล
ในสังคมที่อินเทอร์เน็ตเริ่มมีบทบาทในชีวิตประจำวัน เนื้อหาความรู้สาธารณะ (open content) เปิดช่องทางให้ผู้เรียนรู้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้อย่างไม่มีข้อจำกัด และผู้ให้ความรู้ เช่นโรงเรียน มหาวิทยาลัย หน่วยงานภาคประชาชน หรือแม้แต่ครอบครัว ก็สามารถสรรหาข้อมูลและความรู้ให้ผู้เรียนได้โดยง่าย ยกตัวอย่างเช่น เดิมพ่อแม่จะซื้อหนังสือให้ลูกอ่าน แต่ปัจจุบันสามารถใช้ความรู้ฟรีอินเทอร์เน็ตมาแทนได้ หรือโรงเรียนที่แทนที่จะต้องใช้งบประมาณจำนวนมากซื้อหนังสือเข้าห้องสมุดก็เปลี่ยนเป็นการซื้อคอมพิวเตอร์และระบบอินเทอร์เน็ตและให้คำแนะนำและสนับสนุนให้เด็กใช้งานเพื่อหาข้อมูลอย่างถูกวิธีและได้ผล ตัวอย่างของเนื้อหาความรู้สาธารณะ (open content) ได้แก่ Wikipedia (สารานุกรมสาธารณะบนระบบอินเทอร์เน็ต) ซึ่งมีองค์ความรู้ภาษาไทยอยู่กว่าหนึ่งหมื่นเรื่อง ระบบฐานข้อมูลกลาง เช่นข้อมูลบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ข้อมูลและสถิติทางเศรษฐกิจของหน่วยงานรัฐ ที่เปิดให้ใครก็ได้เข้าถึงและนำไปใช้อย่างเสรี การส่งเสริม Open Content มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้คนไทยรู้จัก Open Content และเข้าไปใช้งานแล้วยังต้องการสนับสนุนให้แหล่งข้อมูลและผู้มีความรู้สร้าง เผยแพร่ และพัฒนาเนื้อหา Open Content โดยการนำ Content มาพัฒนาการเรียนรู้มากกว่าการนำมาใช้งานในลักษณะการประกอบอาชีพ เช่น การที่เด็กและเยาวชนสามารถใช้อินเทอร์เน็ตเข้าถึงสารานุกรมเพื่อสร้างองค์ความรู้ให้แก่ตนเองและสังคมอย่างต่อเนื่อง
เหตุผลสำคัญอีกด้านหนึ่งเทคโนโลยีการสื่อสารได้มีการพัฒนาแบบก้าวกระโดด โดยเฉพาะเทคโนโลยีการสื่อสารแบบไร้พรมแดน ซึ่งจะเห็นได้จาก ระบบอินเทอร์เน็ตปัจจุบันเปลี่ยนเป็นยุคของ Web 2.0 แล้ว ไม่ว่าจะเป็น Blog, Hi5, Facebook, twitter และยังมีอีกหลายอย่างใน Web 2.0 ที่เราในฐานะผู้ใช้งานเทคโนโลยีการสื่อสารจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องทำการศึกษาเรียนรู้สิ่งเหล่านี้ เพื่อที่จะได้รู้เท่าทันเทคโนโลยีการสื่อสาร Communication Technology Literacy และพร้อมที่จะอยู่ในสังคมยุคโลกาภิวัฒน์ อย่างรู้เท่าทัน
2.วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจการรู้เท่าทันเทคโนโลยีการสื่อทางอินเทอร์เน็ตในปัจจุบัน
2. เพื่อส่งเสริมและกระตุ้นให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีการสื่อสารนำความรู้ด้านการรู้เท่าทันเทคโนโลยีการสื่อสารไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันและมีความรับผิดชอบต่อสังคม
3. เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมสัมมนา ได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ด้านการรู้เท่าทันเทคโนโลยีการสื่อสาร
3.ขั้นตอนดำเนินการ
1. กำหนดกิจกรรมและงบประมาณ
2. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติจากประธานสาขาวิชาเทคโนโลยีการสื่อสาร
3. จัดกิจกรรมตามแผนงานที่กำหนด
4. ประเมินและสรุปผลการดำเนินงาน
4.ระยะเวลาดำเนินการ
วันที่ 5 กันยายน 2552 เวลา 9.00 – 12.00 น.
5.กิจกรรม
รับฟังการบรรยาย เรื่อง “รู้ให้เท่า ก้าวให้ทัน เทคโนโลยีการสื่อสาร” วิทยากรโดย
คุณสุนทร พรหมวงศา และ เรื่อง “เกมส์คอมพิวเตอร์ออนไลน์ ภัยแฝงสังคมไทย” วิทยากรโดย คุณจิตติพล ศุภเจียรพันธ์ บัณฑิตศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีการสื่อสาร มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
5.สถานที่ดำเนินการ
ห้อง 1601 อาคารเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
6.งบประมาณ
จากเงินงบประมาณส่วนตัว ดังนี้
1. ค่าตอบแทน
-ค่าตอบแทนวิทยากร 2 ท่าน = 1,000 บาท
2. ค่าวัสดุและค่าใช้สอย
-ค่าอาหาร น้ำชา กาแฟ เครื่องดื่ม = 300 บาท
-อื่นๆ = 200 บาท
รวมเงินทั้งสิ้น 1,500 บาท (หนึ่งพันห้าร้อยบาทถ้วน)
ใช้งบส่วนตัว
7.ประเมินผลโครงการ
1. นักศึกษาและผู้สนใจทั่วไปทุกคนมีความสนใจและความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมรับฟังสัมมนา
2. แบบสอบถามจากผู้เข้าฟังการสัมมนา
8.ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. นักศึกษาและผู้เข้าร่วมสัมมนาทุกคนมีความรู้เท่าทันเทคโนโลยีการสื่อสารแล้ว
สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างดี
2. นักศึกษาและผู้เข้าร่วมสัมมนาได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีการสื่อสารและมีความรู้เท่าทันเทคโนโลยีการสื่อสาร
9.ผู้รับผิดชอบโครงการ
นายสุนทร พรหมวงศา และนายจิตติพล ศุภเจียรพันธ์ บัณฑิตศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีการสื่อสาร ปี 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
10.ผู้เสนอโครงการ
(นายสุนทร พรหมวงศา)
บัณฑิตศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีการสื่อสาร ปี 2
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
11.ผู้อนุมัติโครงการ
(ผศ.ดร.เสกสรร สายสีสด)
ประธานสาขาวิชาเทคโนโลยีการสื่อสาร
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
กำหนดการสัมมนา
เรื่อง “รู้ให้เท่า ก้าวให้ทัน เทคโนโลยีการสื่อสาร”
Media & Communication Technology Literacy
วันที่ 5 กันยายน 2552
ณ ห้อง 1601 อาคารเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
เวลา กิจกรรม
09.00-09.15 น. ลงทะเบียน
09.15-09.30 น. พิธีเปิดการสัมมนา
โดย ผศ.ดร.เสกสรร สายสีสด
ประธานสาขาวิชาเทคโนโลยีการสื่อสาร
ม.รภ.อุดรธานี
9.30-10.30 น. บรรยายเรื่อง “รู้ให้เท่า ก้าวให้ทัน เทคโนโลยีการสื่อสาร”
Media & Communication Technology Literacy
วิทยากรโดย คุณสุนทร พรหมวงศา
10.30-10.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง
10.45-11.45 น. บรรยายเรื่อง “เกมส์คอมพิวเตอร์ออนไลน์
ภัยแอบแฝงสังคมไทย”
วิทยากรโดย คุณจิตติพล ศุภเจียรพันธ์
11.45-12.00 น. ปิดการสัมมนา
วิทยากรโดย คุณสุนทร พรหมวงศา
10.30-10.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง
10.45-11.45 น. บรรยายเรื่อง “เกมส์คอมพิวเตอร์ออนไลน์
ภัยแอบแฝงสังคมไทย”
วิทยากรโดย คุณจิตติพล ศุภเจียรพันธ์
11.45-12.00 น. ปิดการสัมมนา
เป็นการสัมมนาที่ทำได้ดีในระดับหนึ่ง
ตอบลบ